ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามแข่งม้า"
แถว 2: | แถว 2: | ||
[[ไฟล์:Horse-racing-4.jpg|thumb|สนามแข่งม้า]] | [[ไฟล์:Horse-racing-4.jpg|thumb|สนามแข่งม้า]] | ||
− | ความหมายของบริการสนามแข่งม้า | + | '''ความหมายของบริการสนามแข่งม้า''' |
+ | |||
สนามแข่งม้า เป็นสถานที่ประกอบกิจการด้านบริการบันเทิงหรือพักผ่อนหย่อนใจ ผู้ประกอบกิจการสนามแข่งม้าหารายได้จากการจัดแข่งม้า โดยรายได้หลักของบริการสนามแข่งม้าได้จากการขายบัตรค่าผ่านประตูเข้าชมการแข่งม้า และรับแทงพนันม้า ม้าแทงที่ชนะอันดับ 1 เรียกว่า “ม้าชนะ” (วินโต๊ด) และม้าแทงที่ชนะอันดับรองลงไป ได้แก่อันดับที่ 1 2 และ 3 เรียกว่า “ม้ารอง” (เปล๊สโต๊ด) ในปัจจุบัน สนามแข่งม้าจัดเป็นกิจการเสี่ยงโชคที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการพนันแทงม้าขัดต่อศีลธรรมอันดี ซึ่งโดยปกติการพนันถือเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย รัฐไม่อนุญาตให้มีการเล่นพนัน สำหรับกรณีสนามแข่งม้า รัฐมีนโยบายให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิตเพื่อหารายได้เข้ารัฐ และจำกัดควบคุมการเล่นพนันแข่งม้า ซึ่งการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตทำให้ค่าบริการสนามแข่งม้าสูงขึ้น และส่งผลให้ปริมาณการใช้บริการสนามแข่งม้าและการพนันแข่งม้าลดลง หรืออย่างน้อยอยู่ในระดับที่เหมาะสม นอกจากนี้บริการแข่งม้าถือเป็นบริการที่ฟุ่มเฟือย นอกเหนือจากสินค้าและบริการอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน | สนามแข่งม้า เป็นสถานที่ประกอบกิจการด้านบริการบันเทิงหรือพักผ่อนหย่อนใจ ผู้ประกอบกิจการสนามแข่งม้าหารายได้จากการจัดแข่งม้า โดยรายได้หลักของบริการสนามแข่งม้าได้จากการขายบัตรค่าผ่านประตูเข้าชมการแข่งม้า และรับแทงพนันม้า ม้าแทงที่ชนะอันดับ 1 เรียกว่า “ม้าชนะ” (วินโต๊ด) และม้าแทงที่ชนะอันดับรองลงไป ได้แก่อันดับที่ 1 2 และ 3 เรียกว่า “ม้ารอง” (เปล๊สโต๊ด) ในปัจจุบัน สนามแข่งม้าจัดเป็นกิจการเสี่ยงโชคที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการพนันแทงม้าขัดต่อศีลธรรมอันดี ซึ่งโดยปกติการพนันถือเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย รัฐไม่อนุญาตให้มีการเล่นพนัน สำหรับกรณีสนามแข่งม้า รัฐมีนโยบายให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิตเพื่อหารายได้เข้ารัฐ และจำกัดควบคุมการเล่นพนันแข่งม้า ซึ่งการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตทำให้ค่าบริการสนามแข่งม้าสูงขึ้น และส่งผลให้ปริมาณการใช้บริการสนามแข่งม้าและการพนันแข่งม้าลดลง หรืออย่างน้อยอยู่ในระดับที่เหมาะสม นอกจากนี้บริการแข่งม้าถือเป็นบริการที่ฟุ่มเฟือย นอกเหนือจากสินค้าและบริการอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
==คุณลักษณะของบริการ== | ==คุณลักษณะของบริการ== | ||
[[file:Detail-horse.png|200px|thumb|right|คุณลักษณะบริการสนามแข่งม้า]] | [[file:Detail-horse.png|200px|thumb|right|คุณลักษณะบริการสนามแข่งม้า]] | ||
+ | |||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
| valign="top" align="center" style="background:#f0f0f0;"|'''ลำดับที่''' | | valign="top" align="center" style="background:#f0f0f0;"|'''ลำดับที่''' | ||
แถว 32: | แถว 26: | ||
| 5||มีการบริจาครายรับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือไม่||ระบุว่าสถานบริการมีการบริจาครายรับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือไม่ | | 5||มีการบริจาครายรับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือไม่||ระบุว่าสถานบริการมีการบริจาครายรับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือไม่ | ||
|} | |} | ||
+ | |||
+ | == กฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้อง == | ||
+ | |||
+ | กฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตบริการสนามแข่งม้าในปัจจุบัน มีดังต่อไปนี้ | ||
+ | * [http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%C007/%C007-20-9999-update.pdf พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527] | ||
+ | * [http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%BE08/%BE08-20-9999-update.pdf พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527] | ||
+ | * [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00119224.PDF ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 68) ลงวันที่ 28 ม.ค. 2546] | ||
+ | * [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/134/8.PDF กฎกระทรวง ฉบับที่ 34 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 ว่าด้วยบริการที่ผู้ประกอบกิจการสถานบริการมีสิทธิได้รับยกเว้นภาษี] | ||
==พิกัดภาษีสรรพสามิตบริการสนามแข่งม้า== | ==พิกัดภาษีสรรพสามิตบริการสนามแข่งม้า== | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
− | ! ประเภทที่ | + | ! valign="top" | ประเภทที่ |
− | ! รายการ | + | ! valign="top" | รายการ |
− | ! อัตราภาษีที่ใช้ในการจัดเก็บตามมูลค่าร้อยละ | + | ! valign="top" | อัตราภาษีที่ใช้ในการจัดเก็บตามมูลค่าร้อยละ |
− | ! ลดลงเหลือ/ยกเว้น ตามมูลค่าร้อยละ | + | ! valign="top" | ลดลงเหลือ/ยกเว้น ตามมูลค่าร้อยละ |
− | |- | + | |- valign="top" |
| 10.01 | | 10.01 | ||
| - สนามแข่งม้า | | - สนามแข่งม้า | ||
| | | | ||
| | | | ||
− | |- | + | |- valign="top" |
| | | | ||
| (1) ค่าผ่านประตู | | (1) ค่าผ่านประตู | ||
| align="center" | 20 | | align="center" | 20 | ||
| align="center" | 20 | | align="center" | 20 | ||
− | |- | + | |- valign="top" | |
| | | | ||
| (2) รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า โดยหักเงินรางวัลที่ต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เล่นการพนันแข่งม้าดังกล่าว | | (2) รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า โดยหักเงินรางวัลที่ต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เล่นการพนันแข่งม้าดังกล่าว | ||
| align="center" | 20 | | align="center" | 20 | ||
| align="center" | 20 | | align="center" | 20 | ||
− | |- | + | |- valign="top" |
| | | | ||
| (3) รายรับอื่นๆ | | (3) รายรับอื่นๆ |
รุ่นเมื่อ 18:40, 16 กรกฎาคม 2558
เนื้อหา
ความรู้ทั่วไปของบริการสนามแข่งม้า
ความหมายของบริการสนามแข่งม้า
สนามแข่งม้า เป็นสถานที่ประกอบกิจการด้านบริการบันเทิงหรือพักผ่อนหย่อนใจ ผู้ประกอบกิจการสนามแข่งม้าหารายได้จากการจัดแข่งม้า โดยรายได้หลักของบริการสนามแข่งม้าได้จากการขายบัตรค่าผ่านประตูเข้าชมการแข่งม้า และรับแทงพนันม้า ม้าแทงที่ชนะอันดับ 1 เรียกว่า “ม้าชนะ” (วินโต๊ด) และม้าแทงที่ชนะอันดับรองลงไป ได้แก่อันดับที่ 1 2 และ 3 เรียกว่า “ม้ารอง” (เปล๊สโต๊ด) ในปัจจุบัน สนามแข่งม้าจัดเป็นกิจการเสี่ยงโชคที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการพนันแทงม้าขัดต่อศีลธรรมอันดี ซึ่งโดยปกติการพนันถือเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย รัฐไม่อนุญาตให้มีการเล่นพนัน สำหรับกรณีสนามแข่งม้า รัฐมีนโยบายให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิตเพื่อหารายได้เข้ารัฐ และจำกัดควบคุมการเล่นพนันแข่งม้า ซึ่งการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตทำให้ค่าบริการสนามแข่งม้าสูงขึ้น และส่งผลให้ปริมาณการใช้บริการสนามแข่งม้าและการพนันแข่งม้าลดลง หรืออย่างน้อยอยู่ในระดับที่เหมาะสม นอกจากนี้บริการแข่งม้าถือเป็นบริการที่ฟุ่มเฟือย นอกเหนือจากสินค้าและบริการอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน
คุณลักษณะของบริการ
ลำดับที่ | ชื่อข้อมูลคุณสมบัติ | ความหมาย |
1 | ชื่อสถานบริการ | ชื่อที่จดทะเบียนของสถานบริการ |
2 | รายรับจากค่าผ่านประตู | ระบุรายรับจากค่าผ่านประตู |
3.1 | รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า ม้าชนะ (Win) | ระบุรายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า โดยหักจากเงินรางวัลพนันแข่งม้า ม้าชนะ (Win) |
3.2 | รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า ม้ารอง (Place) | ระบุรายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า โดยหักจากเงินรางวัลพนันแข่งม้า ม้ารอง (Place) |
4 | รายรับอื่นๆ | ระบุรายรับอื่นๆ |
5 | มีการบริจาครายรับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือไม่ | ระบุว่าสถานบริการมีการบริจาครายรับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือไม่ |
กฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตบริการสนามแข่งม้าในปัจจุบัน มีดังต่อไปนี้
- พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
- พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
- ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 68) ลงวันที่ 28 ม.ค. 2546
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 34 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 ว่าด้วยบริการที่ผู้ประกอบกิจการสถานบริการมีสิทธิได้รับยกเว้นภาษี
พิกัดภาษีสรรพสามิตบริการสนามแข่งม้า
ประเภทที่ | รายการ | อัตราภาษีที่ใช้ในการจัดเก็บตามมูลค่าร้อยละ | ลดลงเหลือ/ยกเว้น ตามมูลค่าร้อยละ |
---|---|---|---|
10.01 | - สนามแข่งม้า | ||
(1) ค่าผ่านประตู | 20 | 20 | |
(2) รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้า โดยหักเงินรางวัลที่ต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เล่นการพนันแข่งม้าดังกล่าว | 20 | 20 | |
(3) รายรับอื่นๆ | 20 | ยกเว้นภาษี |
แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องและวิธีการกรอกข้อมูล
การคำนวณภาษี
ภาษีสรรพสามิต = มูลค่า x อัตราภาษีสรรพสามิต
วิธีการคำนวณภาษี
การคำนวณภาษี/ฐานภาษี
การเสียภาษีภาษีตามมูลค่า ให้ถือมูลค่าตามค่าบริการ โดยรวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ
ค่าบริการ หมายถึง ต้นทุน + กำไร โดยที่ไม่รวมภาษี มูลค่า = ค่าบริการ + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย
ดังนั้น
ภาษีสรรพสามิต = (ค่าบริการ + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย) x อัตราภาษีสรรพสามิต
หากยังไม่ทราบค่าภาษีสรรพสามิต แล้วจะคำนวณค่าภาษีได้อย่างไร ?
ดังนั้น จึงแก้สมการเพื่อคำนวณค่าภาษีสรรพสามิต ดังนี้
ภาษีสรรพสามิต = (ค่าบริการ + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย) x อัตราภาษี
กำหนดให้
T = ภาษีสรรพสามิต, A = ค่าบริการ, R = อัตราภาษี, 0.1T = ภาษีเพื่อมหาดไทย
จะได้
T = (A + T + 0.1T)R T = (A + 1.1T)R T = AR + 1.1TR T - 1.1TR = AR T(1 - 1.1R) = AR T = AR/(1-1.1R)
ดังนั้น แทนค่าสัญลักษณ์ได้ดังนี้
ภาษีสรรพสามิต = ค่าบริการ x อัตราภาษี / (1 - (1.1 x อัตราภาษี))
ตัวอย่างการคำนวณภาษี
สมาคมราชกรีฑาสโมสร มีรายรับค่าผ่านประตู 300,000 บาท และรายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้าชนะ 2,000,000 บาท รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้ารอง 1,000,000 บาท อัตราภาษีสรรพสามิตตามมูลค่าร้อยละ 20 ผู้ประกอบการสนามแข่งม้า สามารถคำนวณภาษีสรรพสามิตได้ โดยวิธีการดังต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณภาษีค่าผ่านประตูกรณีที่ทราบมูลค่าแล้ว
1. สมมุติให้ผู้ประกอบการสนามแข่งม้า มีรายรับจากบัตรค่าผ่านประตู = 300,000 บาท การคำนวณ: การคำนวณ ค่าบัตรผ่านประตูรวมภาระภาษีทั้งหมด = 300,000 บาท ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม = (300,000 x 7%) = 21,000 บาท ฐานราคาไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม = 300,000 - 21,000 บาท = 279,000 บาท ค่าบัตรผ่านประตู 279,000 บาท จึงป็นราคาค่าบริการที่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระไว้แล้ว สามารถคำนวณภาษีสรรพสามิตได้ อัตราร้อยละ 20 + ภาษีเก็บเพื่อกระทรวงมหาดไทยอีกร้อยละ 10 ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ = (279,000 x 22%) = 61,380 บาท ราคาค่าผ่านประตูที่ไม่รวมภาษีสรรพสามิต =279,000 – 61,380 = 217,620 บาท นำตัวเลขมาใส่ในโครงสร้างราคาค่าบริการได้ดังนี้ โครงสร้างราคาค่าผ่านประตู 1. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งไม่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 217,620 บาท 2. ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 61,380 บาท 3. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งรวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระเรียบร้อยแล้ว (1) + (2) = 279,000 บาท |
ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณภาษีค่าผ่านประตูกรณีที่ทราบค่าบริการที่ยังไม่รวมภาระภาษี
1. สมมุติให้ผู้ประกอบการสนามแข่งม้า มีรายรับจากบัตรค่าผ่านประตู = 217,620 บาท (ยังไม่รวมภาระภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระและมูลค่าเพิ่ม) การคำนวณ: ค่าบัตรผ่านประตูยังไม่รวมภาระภาษี = 217,620 บาท ภาษีสรรพสามิต = 217,620 x 0.20/ 1 – (1.1 x 0.20) = 43,524 / 0.78 = 55,800 บาท ภาษีเพื่อมหาดไทย = 5,580 บาท รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ = 55,800 + 5,580 = 61,380 บาท ราคาค่าผ่านประตูที่รวมภาษีสรรพสามิต =217,620 + 61,380 = 279,000 บาท นำตัวเลขมาใส่ในโครงสร้างราคาค่าบริการได้ดังนี้ โครงสร้างราคาค่าผ่านประตู 1. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งไม่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 217,620 บาท 2. ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 61,380 บาท 3. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งรวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระเรียบร้อยแล้ว (1) + (2) = 279,000 บาท |
การคำนวณภาษีรายรับจากการพนันแข่งม้า
ตัวอย่างที่ 1 สมมุติ รายรับจากการพนันแข่งม้าที่หักไว้เป็นฐานในการคำนวณภาษี 2.1 ม้าชนะ (WIN) = 450,000 บาท 2.2 ม้ารอง (PLACE) = 175,000 บาท เป็นราคาค่าบริการที่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระไว้แล้ว สามารถคำนวณภาษีสรรพสามิตได้ อัตราร้อยละ 20 + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยร้อยละ 10 ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 2.1 ม้าชนะ (WIN) = (450,000 x 22%) = 99,000 บาท 2.2 ม้ารอง (PLACE) = (175,000 x 22%) = 38,500 บาท รวมภาษีที่สนามแข่งม้าต้องชำระ 61,380 + 99,000 + 38,500 = 198,880 บาท |
รายการ | จำนวนเงิน | ภาษีสนามแข่งม้า | ||
---|---|---|---|---|
1. รายรับจากค่าบัตรผ่านประตู | 300,000 | |||
1.1 ภาษีสรรพสามิต 20% + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทย (10% ของภาษีสรรพสามิต) | 61,380 | |||
2. รายรับจากเงินรางวัลการพนันแข่งม้า | 3,000,000 | |||
ม้าชนะ (WIN) | ภาษีสนามแข่งม้า | ม้ารอง (PLACE) | ภาษีสนามแข่งม้า | |
2.1 รายรับจากการพนันแข่งม้า | 2,000,000 | 1,000,000 | ||
2.2 เงินรางวัลที่สนามแข่งม้าหักให้ผู้เล่นพนันม้า | 1,550,000 (77.5%) | 825,000 (82.5%) | ||
2.3 เงินที่สนามแข่งม้าหักไว้ เป็นฐานในการคำนวณภาษีสรรพสามิต | 450,000 (22.5%) | 175,000 (17.5%) | ||
2.4 ภาษีสรรพสามิต 20% + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทย (10% ของภาษีสรรพสามิต) | 99,000 | 38,500 | ||
รวมภาษีที่พึงต้องชำระ (1.1 + 2.4) = 198,880 บาท |