ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุรา"
(→ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสินค้าสุรา) |
(→ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสินค้าสุรา) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
== ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสินค้าสุรา == | == ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสินค้าสุรา == | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | ''' | + | พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานให้นิยามความหมายของ “สุรา” หมายถึง เหล้า, น้ำเมาที่ได้จากการกลั่น<br /> |
+ | ในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ได้กำหนดความหมายของสุราไว้ว่า “สุรา หมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้วสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา” <br /> | ||
+ | กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้ความหมายของสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (Alcoholic Beverages) ไว้ว่า “สุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (Alcoholic Beverages) หมายความรวมถึงเครื่องดื่มใดๆ ในรูปของของเหลวที่มีเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) เป็นองค์ประกอบไม่น้อยกว่า 0.5 เปอร์เซนต์โดยปริมาตร และสามารถบริโภคได้” <br /> | ||
+ | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสุรากลั่น มอก. 2088–2544 ได้ให้คำนิยามของสุราไว้ว่า “สุรา หมายถึง เครื่องดื่มที่มีแรงแอลกอฮอล์เกิน 0.5 ดีกรี แต่ไม่เกิน 80 ดีกรี ” | ||
+ | <br /> | ||
+ | |||
+ | ตามพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ได้ให้ความหมายของสินค้าสุราที่จัดเก็บภาษี ดังนี้ | ||
+ | : ""“สุรา"''' หมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา | ||
+ | : ""“สุราแช่"''' หมายความว่า สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้ว แต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วยเช่น เบียร์ ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่พื้นเมืองเป็นต้น | ||
+ | : ""“สุรากลั่น"''' หมายความว่า สุราที่ได้กลั่นแล้ว และให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้ว แต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วยเช่น สุราสามทับ สุราขาว สุราปรุงพิเศษ และสุราพิเศษ เป็นต้น | ||
+ | : ""“เชื้อสุรา"''' หมายความว่าแป้งเชื้อสุรา แป้งข้าวหมักหรือเชื้อใด ๆ ซึ่งเมื่อหมักกับวัตถุหรือของเหลวอื่นแล้วสามารถทำให้เกิดแอลกอฮอล์ที่ใช้ทำสุราได้ | ||
+ | <br /> | ||
+ | ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 46 (พ.ศ. 2513) ออกตามความในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 กำหนดชนิดของสุรากลั่นและความหมายของสุรากลั่นแต่ละชนิด ดังนี้ | ||
+ | : ""“สุราสามทับ"''' คือ สุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 80 ดีกรีขึ้นไป | ||
+ | : ""“สุราขาว"''' คือ สุรากลั่นที่ปราศจากเครื่องย้อมหรือสิ่งผสมปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี | ||
+ | : ""“สุราผสม"''' คือ สุรากลั่นที่ใช้สุราขาวหรือสุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี | ||
+ | : ""“สุราปรุงพิเศษ"''' คือ สุรากลั่นที่ใช้สุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี | ||
+ | : ""“สุราพิเศษ"''' คือ สุรากลั่นที่ทำขึ้นโดยใช้กรรมวิธีพิเศษ มีแรงแอลกอฮฮล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี แบ่งเป็น 8 ประเภทคือ ประเภทวิสกี้ บรั่นดี รัม ยิน หรือสุราแบบต่างประเทศอย่างอื่น ประเภทเกาเหลียง เชี่ยงชุน ปุ้นกุ๋ยโล่วหรือสุราแบบจีนอย่างอื่น | ||
+ | |||
+ | ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราของกรมสรรพสามิต <br /> | ||
+ | สำหรับสินค้าสุรา ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีกรมสรรพสามิต | ||
+ | * ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุรา | ||
+ | * ผู้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร | ||
− | + | อัตราภาษีทั้งสุราผลิตในประเทศ และนำเข้ามาในราชอาณาจักร ใช้อัตราภาษีเดียวกันนอกจากนี้ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราจะต้องมีหน้าที่เสียภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย 10 % ของภาษีสุราและเงินกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 2% ของภาษีสุรา | |
<br /> | <br /> | ||
− | + | การคืน การยกเว้นการเสียภาษีสุรา | |
+ | * ผู้ส่งสุราออกไปนอกราชอาณาจักรมีสิทธิได้รับคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งออกไปตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนด | ||
+ | * สุราซึ่งได้ทำการขนออกจากโรงงานสุราแล้วหากพิสูจน์ได้ว่าสุราแปรสภาพไปเองจนไม่สมควรจะใช้ดื่มกินต่อไป และได้ส่งคืนโรงงานสุราตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนด เจ้าของสุรามีสิทธิได้รับคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งคืนนั้น | ||
+ | * ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุราอาจขอยกเว้นภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งออกไปนอกราชอาณาจักรตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนด | ||
+ | * ให้งดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุราสำหรับสุราที่ทำในราชอาณาจักร และสุราที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร ของผู้ได้รับเอกสิทธิ์ตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การสหประชาชาติหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือตามสัญญา หรือความตกลงกับต่างประเทศหรือทางการทูต | ||
== ประเภทสินค้าและคุณสมบัติของสินค้าสุรา == | == ประเภทสินค้าและคุณสมบัติของสินค้าสุรา == |
รุ่นเมื่อ 16:36, 6 มกราคม 2558
เนื้อหา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสินค้าสุรา
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานให้นิยามความหมายของ “สุรา” หมายถึง เหล้า, น้ำเมาที่ได้จากการกลั่น
ในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ได้กำหนดความหมายของสุราไว้ว่า “สุรา หมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้วสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา”
กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้ความหมายของสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (Alcoholic Beverages) ไว้ว่า “สุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (Alcoholic Beverages) หมายความรวมถึงเครื่องดื่มใดๆ ในรูปของของเหลวที่มีเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) เป็นองค์ประกอบไม่น้อยกว่า 0.5 เปอร์เซนต์โดยปริมาตร และสามารถบริโภคได้”
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสุรากลั่น มอก. 2088–2544 ได้ให้คำนิยามของสุราไว้ว่า “สุรา หมายถึง เครื่องดื่มที่มีแรงแอลกอฮอล์เกิน 0.5 ดีกรี แต่ไม่เกิน 80 ดีกรี ”
ตามพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ได้ให้ความหมายของสินค้าสุราที่จัดเก็บภาษี ดังนี้
: ""“สุรา" หมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้ แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา
: ""“สุราแช่" หมายความว่า สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้หมายความรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้ว แต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วยเช่น เบียร์ ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่พื้นเมืองเป็นต้น
: ""“สุรากลั่น" หมายความว่า สุราที่ได้กลั่นแล้ว และให้หมายความรวมถึงสุรากลั่นที่ได้ผสมกับสุราแช่แล้ว แต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วยเช่น สุราสามทับ สุราขาว สุราปรุงพิเศษ และสุราพิเศษ เป็นต้น
: ""“เชื้อสุรา" หมายความว่าแป้งเชื้อสุรา แป้งข้าวหมักหรือเชื้อใด ๆ ซึ่งเมื่อหมักกับวัตถุหรือของเหลวอื่นแล้วสามารถทำให้เกิดแอลกอฮอล์ที่ใช้ทำสุราได้
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 46 (พ.ศ. 2513) ออกตามความในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 กำหนดชนิดของสุรากลั่นและความหมายของสุรากลั่นแต่ละชนิด ดังนี้
: ""“สุราสามทับ" คือ สุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 80 ดีกรีขึ้นไป
: ""“สุราขาว" คือ สุรากลั่นที่ปราศจากเครื่องย้อมหรือสิ่งผสมปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี
: ""“สุราผสม" คือ สุรากลั่นที่ใช้สุราขาวหรือสุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี
: ""“สุราปรุงพิเศษ" คือ สุรากลั่นที่ใช้สุราสามทับมาปรุงแต่ง มีแรงแอลกอฮอล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี
: ""“สุราพิเศษ" คือ สุรากลั่นที่ทำขึ้นโดยใช้กรรมวิธีพิเศษ มีแรงแอลกอฮฮล์ต่ำกว่า 80 ดีกรี แบ่งเป็น 8 ประเภทคือ ประเภทวิสกี้ บรั่นดี รัม ยิน หรือสุราแบบต่างประเทศอย่างอื่น ประเภทเกาเหลียง เชี่ยงชุน ปุ้นกุ๋ยโล่วหรือสุราแบบจีนอย่างอื่น
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราของกรมสรรพสามิต
สำหรับสินค้าสุรา ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีกรมสรรพสามิต
- ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุรา
- ผู้นำสุราเข้ามาในราชอาณาจักร
อัตราภาษีทั้งสุราผลิตในประเทศ และนำเข้ามาในราชอาณาจักร ใช้อัตราภาษีเดียวกันนอกจากนี้ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราจะต้องมีหน้าที่เสียภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย 10 % ของภาษีสุราและเงินกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 2% ของภาษีสุรา
การคืน การยกเว้นการเสียภาษีสุรา
- ผู้ส่งสุราออกไปนอกราชอาณาจักรมีสิทธิได้รับคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งออกไปตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนด
- สุราซึ่งได้ทำการขนออกจากโรงงานสุราแล้วหากพิสูจน์ได้ว่าสุราแปรสภาพไปเองจนไม่สมควรจะใช้ดื่มกินต่อไป และได้ส่งคืนโรงงานสุราตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนด เจ้าของสุรามีสิทธิได้รับคืนค่าภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งคืนนั้น
- ผู้ได้รับใบอนุญาตทำสุราอาจขอยกเว้นภาษีสุราสำหรับสุราที่ส่งออกไปนอกราชอาณาจักรตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนด
- ให้งดเว้นไม่เรียกเก็บภาษีสุราสำหรับสุราที่ทำในราชอาณาจักร และสุราที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร ของผู้ได้รับเอกสิทธิ์ตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การสหประชาชาติหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือตามสัญญา หรือความตกลงกับต่างประเทศหรือทางการทูต
ประเภทสินค้าและคุณสมบัติของสินค้าสุรา
ประเภทของสินค้าสุราตามกรมสรรพสามิต
สุราแช่- 1. เบียร์
- 2. ไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น
- ไวน์ที่ทำจากองุ่น
- สปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น
- 3. ชนิดอื่นนอกจาก (1)และ(2)
- สุราแช่พื้นเมือง
- คูลเลอร์ (สุราแช่อัดก๊าซ)
- สุราแช่พร้อมดื่ม (RTD)
- เวอร์มุท ที่ได้จากกระบวนการหมักหรือสุราแช่ผสมสุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรี
- สาเก ที่ได้จากกระบวนการหมักหรือสุราแช่ผสมสุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรี
- คุ๊กกิ้งไวน์ ที่ได้จากกระบวนการหมักหรือสุราแช่ผสมสุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรี
- สุราแช่ผลไม้ที่ไม่มีส่วนผสมขององุ่น
- ไวน์ที่ไม่ได้ทำจากองุ่น
- สุราขาว
- สุรากลั่นอื่นนอกจากสุราขาว
- สุราผสม
- สุราปรุงพิเศษ
- บรั่นดี
- จิน
- รัม
- ลิเคียว
- วอดก้า
- วิสกี้
- เวอร์มุท ที่ได้จากการนำสุรากลั่นผสมสุราแช่ที่มีแรงแอลกอฮอล์เกิน 15 ดีกรี
- สาเก ที่ได้จากการนำสุรากลั่นผสมสุราแช่ที่มีแรงแอลกอฮอล์เกิน 15 ดีกรี
- คุ๊กกิ้งไวน์ ที่ได้จากการนำสุรากลั่นผสมสุราแช่ที่มีแรงแอลกอฮอล์เกิน 15 ดีกรี
- สุราพิเศษ(PortWine)
- สุราจีน
- สุราพิเศษ(โซวจู)
- สุราเชอรี่
- เตอกีลา
- สุราสามทับ
- สุราสามทับที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรม
- สุราสามทับที่นำไปใช้ในการแพทย์
- อื่น ๆ นอกจากเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมและทางการแพทย์